หากนาฬิกาของท่านไม่ปรากฏเครื่องหมาย “WATER RESISTANT” บนฝาหลัง (และบนหน้าปัดสำหรับบางรุ่น)
แสดงว่านาฬิกาของท่านไม่มีระบบกันน้ำ และต้องควรดูแลอย่าให้นาฬิกาสัมผัสถูกน้ำ ซึ่งอาจทำให้เครื่องที่อยู่ภายในเกิดความเสียหายได้ ในกรณีที่นาฬิกาของท่านเปียกน้ำ แนะนำให้ท่านนำนาฬิกาดังกล่าวไปตรวจเช็คที่ศูนย์บริการแมกนาโน่ทันที
หากนาฬิกาของท่านปรากฏเครื่องหมาย “WATER RESISTANT” บนฝาหลัง (และบนหน้าปัด สำหรับบางรุ่น)
แสดงว่านาฬิกาของท่านมีระบบกันน้ำ ทั้งนี้หากเป็นนาฬิกากันน้ำ ระดับ 3 bar นาฬิกาจะสามารถสัมผัสถูกน้ำได้
เช่น ล้างมือ ถูกฝน เป็นต้น แต่นาฬิกาจะไม่ได้ถูกออกแบบไว้สำหรับใส่ว่ายน้ำหรือดำน้ำ
หากนาฬิกาของท่านปรากฏเครื่องหมาย “WATER RESISTANT” บนฝาหลัง (และบนหน้าปัด สำหรับบางรุ่น)
แสดงว่านาฬิกาของท่านมีระบบกันน้ำ ทั้งนี้หากเป็นนาฬิกากันน้ำ ระดับ 5 bar นาฬิกาจะสามารถสวมใส่
ขณะทำการว่ายน้ำ (ในสระ), เล่นเรือใบ,และ ใส่อาบน้ำ แต่นาฬิกาจะไม่ได้ถูกออกแบบไว้สำหรับใส่ดำน้ำและดำน้ำลึก
หากนาฬิกาของท่านปรากฏเครื่องหมาย “WATER RESISTANT” บนฝาหลัง (และบนหน้าปัด สำหรับบางรุ่น)
แสดงว่านาฬิกาของท่านมีระบบกันน้ำ ซึ่งถูกออกแบบและผลิตมาให้มีการกันน้ำระดับ 5 bar/10 bar/15 bar
โดยทั้งนี้สามารถสวมใส่นาฬิกาขณะว่ายน้ำและดำน้ำระดับตื่นๆ แต่ไม่สามารถใส่เพื่อดำน้ำลึกแบบ Scuba
ควรสวมใส่นาฬิกาดำน้ำรุ่น SEIKO Driver ซึ่งเป็นนาฬิกาดำน้ำลึกแทน การใช้นาฬิกาที่มีระดับการกันน้ำ 5-20 bar ขณะอยู่ในน้ำนั้น และต้องแน่ใจว่าเม็ดมะยม อยู่ในตำแหน่งล็อค เพื่อป้องกันน้ำเข้าทางเม็ดมะยม ห้ามดึงเม็ดมะยมขณะที่นาฬิกาเปียกน้ำหรืออยู่ในน้ำ ถ้าใช้ในน้ำทะเลต้องทำนาฬิกาให้แห้งทันที
หมายเหตุ แรงดันในมาตรวัดระบบ bar จะเป็นระดับแรงดันที่ได้จากการทดสอบ ซึ่งไม่ใช่การทดสอบดำน้ำลึกจริง เพราะการเคลื่อนไหว
ในการดำน้ำจะมีแรงดันที่เพิ่มขึ้นกว่าความลึกที่วัด ดังนั้นจึงควรพิจารณาในการสวมใส่นาฬิกาขณะทำการดำน้ำลึก
นาฬิกาของคุณจะทำงานปกติในอุณหภูมิระหว่าง 5 – 35 องศาเซลเซียส (41-95 องศาฟาเรนไฮต์) ทั้งนี้
หากอุณหภูมิเกินกว่า 60 องศาเซลเซียส หรือ 140 องศาฟาเรนไฮต์ (สำหรับบางรุ่นที่เกิน 50 องศาเซลเซียส หรือ 122 องศาฟาเรนไฮต์) อาจเป็นสาเหตุทำให้แบตเตอรี่ภายในนาฬิกาเกิดความเสียหายได้
การทำกิจกรรมและการเคลื่อนไหวทั่วๆไปขณะสวมใส่นาฬิกา จะไม่มีผลกับนาฬิกาของคุณ แต่ต้องระวังไม่ให้นาฬิกาตกหรือกระแทกลงสู่พื้นผิวที่แข็ง อาจทำให้นาฬิกาชำรุด
นาฬิกาจะได้รับผลกระทบอย่างมากจากสนามแม่เหล็ก ควรเก็บนาฬิกาให้ห่างจากวัตถุที่ก่อให้เกิดสนามแม่เหล็ก
(ในกรณีที่เป็นนาฬิการะบบควอทซ์ นาฬิกาจะเดินเป็นปกติ หากนำนาฬิกาออกจากบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก)
ควรทำการตรวจเช็คนาฬิกาทุก 2-3 ปี โดยสามารถนำนาฬิกาของท่านไปทำการตรวจเช็คที่ศูนย์บริการ Magnano เพื่อให้แน่ใจว่าได้รับบริการและอะไหล่ที่มีคุณภาพ
เพื่อป้องกันการเกิดสนิมและอาการผุ กับตัวเรือนและสายนาฬิกา ซึ่งมีสาเหตุมาจาก คราบสกปรก, คราบน้ำมัน, เหงื่อ เป็นต้น โดยสามารถทำความสะอาด โดยการเช็ดคราบเหล่านี้ด้วยผ้านุ่มแห้ง
ควรระวังไม่ให้นาฬิกาสัมผัสกับสารเคมี ประเภทสารละเหย (แอลกอฮอล์ และน้ำมันเชื่อเพลิง), ปรอท
(จากการแตกของโทโมมิเตอร์), เครื่องสำอางประเภทสเปรย์, ผงซักฟอกและสารเคมีประเภทตัวทำละลาย,
คราบกาวและสี เป็นต้น ซึ่งอาจทำให้สีของตัวเรือนและสาย ซีดจาง, ลอก หรือเกิดความเสียหายได้
ถ้านาฬิกาของคุณมีแผ่นสติกเกอร์ป้องกันฝาหลัง ติดอยู่บนฝาหลัง ควรลอกออกก่อนที่จะสวมใส่นาฬิกา หากไม่ลอกออกและสวมใส่ทับไว้ เพราะบริเวณรอบๆ แผ่นสติกเกอร์เป็นที่สะสมของคราบต่างๆ ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ฝาหลังเกิดสนิมและผุได้
หากนาฬิกาของท่านไม่ปรากฏเครื่องหมาย “WATER RESISTANT” บนฝาหลัง (และบนหน้าปัดสำหรับบางรุ่น) แสดงว่านาฬิกาของท่านไม่มีระบบกันน้ำ และต้องควรดูแลอย่าให้นาฬิกาสัมผัสถูกน้ำ ซึ่งอาจทำให้เครื่องที่อยู่ภายในเกิดความเสียหายได้ ในกรณีที่นาฬิกาของท่านเปียกน้ำ แนะนำให้ท่านนำนาฬิกาดังกล่าวไปตรวจเช็คที่ศูนย์บริการแมกนาโน่ทันที
หากนาฬิกาของท่านปรากฏเครื่องหมาย “WATER RESISTANT” บนฝาหลัง (และบนหน้าปัด สำหรับบางรุ่น) แสดงว่านาฬิกาของท่านมีระบบกันน้ำ ทั้งนี้หากเป็นนาฬิกากันน้ำ ระดับ 3 bar นาฬิกาจะสามารถสัมผัสถูกน้ำได้ เช่น ล้างมือ ถูกฝน เป็นต้น แต่นาฬิกาจะไม่ได้ถูกออกแบบไว้สำหรับใส่ว่ายน้ำหรือดำน้ำ
หากนาฬิกาของท่านปรากฏเครื่องหมาย “WATER RESISTANT” บนฝาหลัง (และบนหน้าปัด สำหรับบางรุ่น) แสดงว่านาฬิกาของท่านมีระบบกันน้ำ ทั้งนี้หากเป็นนาฬิกากันน้ำ ระดับ 5 bar นาฬิกาจะสามารถสวมใส่ขณะทำการว่ายน้ำ (ในสระ), เล่นเรือใบ,และ ใส่อาบน้ำ แต่นาฬิกาจะไม่ได้ถูกออกแบบไว้สำหรับใส่ดำน้ำและดำน้ำลึก
หากนาฬิกาของท่านปรากฏเครื่องหมาย “WATER RESISTANT” บนฝาหลัง (และบนหน้าปัด สำหรับบางรุ่น) แสดงว่านาฬิกาของท่านมีระบบกันน้ำ ซึ่งถูกออกแบบและผลิตมาให้มีการกันน้ำระดับ 5 bar/10 bar/15 bar โดยทั้งนี้สามารถสวมใส่นาฬิกาขณะว่ายน้ำและดำน้ำระดับตื่นๆ แต่ไม่สามารถใส่เพื่อดำน้ำลึกแบบ Scuba ควรสวมใส่นาฬิกาดำน้ำรุ่น SEIKO Driver ซึ่งเป็นนาฬิกาดำน้ำลึกแทน การใช้นาฬิกาที่มีระดับการกันน้ำ 5-20 bar ขณะอยู่ในน้ำนั้น และต้องแน่ใจว่าเม็ดมะยม อยู่ในตำแหน่งล็อค เพื่อป้องกันน้ำเข้าทางเม็ดมะยม ห้ามดึงเม็ดมะยมขณะที่นาฬิกาเปียกน้ำหรืออยู่ในน้ำ ถ้าใช้ในน้ำทะเลต้องทำนาฬิกาให้แห้งทันที
หมายเหตุ แรงดันในมาตรวัดระบบ bar จะเป็นระดับแรงดันที่ได้จากการทดสอบ ซึ่งไม่ใช่การทดสอบดำน้ำลึกจริง เพราะการเคลื่อนไหวในการดำน้ำจะมีแรงดันที่เพิ่มขึ้นกว่าความลึกที่วัด ดังนั้นจึงควรพิจารณาในการสวมใส่นาฬิกาขณะทำการดำน้ำลึก
นาฬิกาของคุณจะทำงานปกติในอุณหภูมิระหว่าง
5 – 35 องศาเซลเซียส (41-95 องศาฟาเรนไฮต์) ทั้งนี้หากอุณหภูมิเกินกว่า 60 องศาเซลเซียส หรือ 140 องศาฟาเรนไฮต์ (สำหรับบางรุ่นที่เกิน 50 องศาเซลเซียส หรือ 122 องศาฟาเรนไฮต์) อาจเป็นสาเหตุทำให้แบตเตอรี่ภายในนาฬิกาเกิดความเสียหายได้
การทำกิจกรรมและการเคลื่อนไหวทั่วๆไปขณะสวมใส่นาฬิกา จะไม่มีผลกับนาฬิกาของคุณ แต่ต้องระวังไม่ให้นาฬิกาตกหรือกระแทกลงสู่พื้นผิวที่แข็ง อาจทำให้นาฬิกาชำรุด
นาฬิกาจะได้รับผลกระทบอย่างมากจากสนามแม่เหล็ก ควรเก็บนาฬิกาให้ห่างจากวัตถุที่ก่อให้เกิดสนามแม่เหล็ก (ในกรณีที่เป็นนาฬิการะบบควอทซ์ นาฬิกาจะเดินเป็นปกติ หากนำนาฬิกาออกจากบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก)
ควรทำการตรวจเช็คนาฬิกาทุก 2-3 ปี โดยสามารถนำนาฬิกาของท่านไปทำการตรวจเช็คที่ศูนย์บริการ Magnano เพื่อให้แน่ใจว่าได้รับบริการและอะไหล่ที่มีคุณภาพ
เพื่อป้องกันการเกิดสนิมและอาการผุ กับตัวเรือนและสายนาฬิกา ซึ่งมีสาเหตุมาจาก คราบสกปรก, คราบน้ำมัน, เหงื่อ เป็นต้น โดยสามารถทำความสะอาด โดยการเช็ดคราบเหล่านี้ด้วยผ้านุ่มแห้ง
ควรระวังไม่ให้นาฬิกาสัมผัสกับสารเคมี ประเภทสารละเหย (แอลกอฮอล์ และน้ำมันเชื่อเพลิง), ปรอท
(จากการแตกของโทโมมิเตอร์), เครื่องสำอางประเภทสเปรย์, ผงซักฟอกและสารเคมีประเภทตัวทำละลาย, คราบกาวและสี เป็นต้น ซึ่งอาจทำให้สีของตัวเรือนและสาย ซีดจาง, ลอก หรือเกิดความเสียหายได้
ถ้านาฬิกาของคุณมีแผ่นสติกเกอร์ป้องกันฝาหลัง ติดอยู่บนฝาหลัง ควรลอกออกก่อนที่จะสวมใส่นาฬิกา หากไม่ลอกออกและสวมใส่ทับไว้ เพราะบริเวณรอบๆ แผ่นสติกเกอร์เป็นที่สะสมของคราบต่างๆ ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ฝาหลังเกิดสนิมและผุได้